(อัปเดต) จับตา “ค่าเงิน” ทั่วโลก

ท่ามกลางสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่อยู่ภาวะผันผวน ทั้งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 เมื่อปลายปี 2562 ที่ทำให้รัฐบาลและธนาคารกลางต่างๆ ต้องออกมาตรการหรือนโยบายทางการเงินเพื่อมากระตุ้นเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง ขณะที่เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา ทั่วโลกต้องเผชิญกับแรงสะเทือนจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน ที่ไม่เพียงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจต่อทั้งสองประเทศ แต่ขยายวงกว้างไปในหลายอุตสาหกรรมทั่วโลก ท่ามกลางเศรษฐกิจที่กำลังฟื้นตัว
สถานการณ์ดังกล่าวผลักดันไปสู่ภาวะเงินเฟ้อที่พุ่งสูงขึ้น จากต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ส่งผลต่อภาคครัวเรือน รวมถึงหนึ่งเซ็กเตอร์ที่ได้รับผลกระทบ นั่นคือ “ค่าเงิน” ของประเทศต่างๆ ที่ผันผวนหนัก โดย “การเงินธนาคาร” ได้รวบรวมสถานการณ์ค่าเงินของประเทศต่างๆ พร้อมบทวิเคราะห์ที่น่าสนใจ ดังนี้
4 ก.ค.2565
- ตลาดปิดความเสี่ยง "กรุงไทย"มองแนวโน้มบาทยังอ่อนค่า คาดกรอบสัปดาห์นี้ 35.30-35.80 บาท/ดอลลาร์
- SCB มอง "เงินบาท" วันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.50-35.70 บาท จับตารายงานผลประชุมเฟด
1 ก.ค.2565
- SCB มอง "เงินบาท" อ่อนลงต่อเนื่อง คาดวันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.25-35.45 บาท
- เช้านี้บาท"แข็งค่าเล็กน้อย" "กรุงไทย"มองตลาดเริ่มปิดรับความเสี่ยง กังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย
30 มิ.ย.2565
- "กรุงไทย" เผยแรงต่างชาติเทขาย แนวโน้มค่าบาทผันผวน มองแนวรับสำคัญ 35.00 บาท/ดอลลาร์
- เงินบาท เปิดตลาดแข็งค่าที่ 35.17 บาท จับตา NATO เชิญฟินแลนด์-สวีเดนเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ
- SCB มอง "เงินบาท" วันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.20-35.40 บาท
29 มิ.ย.2565
- ดอลลาร์แข็งค่าขึ้นที่ 104.54 แรงหนุนยูโรอ่อนค่า-หุ้นทั่วโลกลดลง
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.13 บาท ECB ย้ำเตรียมขึ้นดอกเบี้ย
- SCB ประเมิน "เงินบาท" วันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.05-35.25 บาท
- เช้านี้บาทอ่อนค่า "กรุงไทย" เผย นักลงทุนกังวลเศรษฐกิจถดถอย หันปิดความเสี่ยง
28 มิ.ย.2565
- เงินหยวนอ่อนค่า หลังผู้ว่าธนาคารกลางจีนยืนยันผ่อนคลายนโยบายการเงิน รับเศรษฐกิจฟื้นตัว
- ยูโรแข็งค่าขึ้น 0.3% ก่อนรายงานตัวเลขเงินเฟ้อยูโรโซน
- "ธนาคารกลางในเอเชีย" ใช้เงินสำรองรักษาเสถียรภาพ "สกุลเงิน"
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.34 บาท รัสเซียผิดนัดชำระหนี้ต่างประเทศ ครั้งแรกในรอบ 100 ปี
- SCB ประเมินเงินบาทวันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.30-35.50 บาท
27 มิ.ย.2565
- "รูเบิล" ผันผวน เหตุรัสเซียผิดนัดชำระหนี้ครั้งแรกในรอบ 100 ปี
- กรุงศรีคาดเงินบาทซื้อขายในกรอบ 35.25-35.70 ลุ้นรอยต่อระหว่างเงินเฟ้อสู่เศรษฐกิจโลกถดถอย
- SCB ประเมินเงินบาทวันนี้เคลื่อนไหวในกรอบ 35.35-35.55 บาท
- เงินบาท เปิดตลาดแข็งค่า 35.46 บาท นักลงทุนคลายกังวลปรับขึ้นดอกเบี้ยของเฟด
- เงินบาทชะลอ"อ่อนค่า" กรุงไทยมองกรอบสัปดาห์นี้ 35.20-35.65 บาท/ดอลลาร์
25 มิ.ย.2565
- KBANK มอง "เงินบาท" เคลื่อนไหวสัปดาห์หน้าในกรอบ 35.25-35.85 บาท
24 มิ.ย.2565
- เยนอ่อนค่าหนัก ดึงดูดผู้ซื้อต่างประเทศสู่ "ตลาดรถยนต์มือสองญี่ปุ่น" ดันราคาพุ่งสูงเกินจริง
- SCB ประเมินค่าเงินบาท เคลื่อนไหวในกรอบ 35.45-35.65 บาท
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.56 บาท ความตึงเครียดยุโรป-รัสเซียเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
- เงินบาทเคลื่อนไหว "ทรงตัว" หลังถ้อยแถลงประธานเฟด "กรุงไทย" มองแนวโน้มด้านอ่อนค่า
23 มิ.ย.2565
- SCB ประเมิน "เงินบาท" เคลื่อนไหวในกรอบ 35.35-35.55 บาท ชี้ภาพรวมยังอ่อนค่าต่อเนื่อง
- "กรุงไทย" มองแรงกดดันบาทอ่อนค่ายังคงอยู่ หลัง"เฟด"มุ่งขึ้นดอกเบี้ยแก้เงินเฟ้อ
- เงินวอนอ่อนค่าหนัก แตะ 1,300 วอน/ดอลล์ ครั้งแรกในรอบ 13 ปี ส่งสัญญาณความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ
- เงินบาท เปิดตลาดแข็งค่าที่ 35.38 บาท "ประธานเฟด" ยอมรับมีโอกาสเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย
22 มิ.ย.2565
- เงินวอน ร่วงหนักต่ำสุดในรอบ 13 ปี แตะ 1,297.60 ต่อดอลล์ กังวลเฟดขึ้นดอกเบี้ยกระทบเศรษฐกิจโลก
- "เยน" แตะจุดต่ำสุดในรอบ 24 ปี หลังบอนด์ยีลด์สหรัฐดีดตัว-BOJ คงนโยบายการเงิน
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.41 บาท หลังคลังเริ่มไฟเขียว ธปท.ขึ้นดอกเบี้ย
- "กรุงไทย" มองกรอบเงินบาทวันนี้ 35.20-35.45 บาท/ดอลลาร์ "อ่อนค่าต่อ"ฟันด์โฟลว์ต่างชาติยังผันผวน
21 มิ.ย.2565
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.34 บาท ธนาคารกลางเอเชียส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ย
- แรงขายหุ้นไทยกดดันบาทอ่อน "กรุงไทย" มองแนวต้านสำคัญ "35.50 บาท/ดอลลาร์"
20 มิ.ย.2565
- กรุงศรีคาดเงินบาทซื้อขายในกรอบ 35.00-35.50 ติดตามถ้อยแถลงประธานเฟด
- "เยน" เปราะบางใกล้ระดับต่ำสุดรอบ 24 ปี ผลพวง BOJ คงนโยบายการเงิน-ดอลลาร์แข็งค่า
- "กรุงไทย" มองบาทยังอ่อนค่า ตลาดจับฤทธิ์ยาแรงของเฟด จะสกัดเงินเฟ้อได้ผลหรือไม่
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 35.25 บาท BOJ ยืนยันคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย
18 มิ.ย.2565
- KBANK มองกรอบเงินบาทสัปดาห์หน้าที่ 34.80-35.70 บาท จับตาทิศทาง Flow-ตัวเลขส่งออกไทย
17 มิ.ย.2565
- เงินเยนทรุดหนัก ร่วงลงอยู่ที่ 134.63 ต่อดอลลาร์ หลัง BOJ ประกาศคงดอกเบี้ยนโยบาย
- เงินบาทมีแรงหนุน "แข็งค่า" ตลาดจับตากนง.จะมีประชุมนัดพิเศษหรือไม่
- เงินบาท เปิดตลาดแข็งค่าที่ 35.05 บาท สหรัฐเผชิญความกังวลภาวะเศรษฐกิจถดถอย
16 มิ.ย.2565
- เงินเยนอ่อนค่า-ต้นทุนพุ่ง ภัยคุกคาม “ร้าน 100 เยน” ของญี่ปุ่น
- เงินบาทแข็งค่าเล็กน้อย "กรุงไทย" มองตลาดตอบรับเชิงบวกหลังเฟดขึ้นดอกเบี้ยคุมเงินเฟ้อสกัด Recession
- เงินบาท เปิดตลาดแข็งค่าที่ 34.83 บาท หลังเฟดขึ้นดอกเบี้ยครั้งใหญ่ 0.75%
15 มิ.ย.2565
- บาทอ่อนค่าสูงสุดในรอบ 6 ปี ธปท.พร้อมเข้าดูแล “ค่าเงินบาท” หากผันผวนมากผิดปกติ
- เงินบาทอ่อนค่าทะลุ "35 บาท/ดอลลาร์ฯ" "กรุงไทย" มองแนวโน้มผันผวนหนักแนะปิดความเสี่ยง
- ลาว กำลังเผชิญวิกฤติหนี้เช่นเดียวกับศรีลังกา หลังเงินสดสำรองลด ค่าเงินร่วง เงินเฟ้อพุ่ง
- แบงก์ชาติจีน ประกาศคงดอกเบี้ยนโยบาย สวนทางเฟด หวั่นกระทบเงินหยวน
14 มิ.ย.2565
- เงินบาท เปิดอ่อนค่าที่ 34.96 บาท กังวลเฟดขึ้นดอกเบี้ยมากถึง 0.75%-สินทรัพย์เสี่ยงผันผวนสูง
- แบงก์แนะใช้เครื่องมือ ป้องกันความเสี่ยงค่าเงินผันผวน
- "กรุงไทย" มองแนวโน้มเงินบาทอ่อนค่าใกล้ทดสอบระดับ "35 บาท/ดอลลาร์ฯ"
13 มิ.ย.2565
-
- จับตาแรงเทขายทั่วโลกรุนแรงขึ้น หลัง “หุ้น-บอนด์ยีลด์-เยน” ตกต่ำ
- "กรุงไทย" มองแนวโน้มเงินบาทผันผวนอ่อนค่าจับตาทิศทางดอกเบี้ย"เฟด"
- เงินเยนอ่อนค่าที่ 135 เยน/ดอลล์ ครั้งแรกในรอบ 20 ปี ธนาคารกลางติดตามสถานการณ์ใกล้ชิด
- เงินบาทเปิดที่ 34.78 บาท แนวโน้มอ่อนค่า ตลาดกังวลเฟดขึ้นดอกเบี้ยมากกว่า 0.50%
11 มิ.ย.2565
- KBANK คาดเงินบาทสัปดาห์หน้าเคลื่อนไหวในกรอบ 34.40-35.10 บาท/ดอลลาร์
10 มิ.ย.2565
- ญี่ปุ่นเพิ่มคำเตือน “เงินเยน” อ่อนค่ารวดเร็ว ส่งสัญญาณเข้าแทรกแซงตลาด
- เงินบาท เปิดตลาดอ่อนค่าที่ 34.53 บาท อีซีบีเตรียมขึ้นดอกเบี้ย 0.25% เดือนกรกฎาคม